หน้าเว็บ

วิศวกรรมไฟฟ้า กับการทำงานจริง

? วิศวกรรมไฟฟ้าในตำรา กับ การทำงานจริง ?




หลายคนเคยฝันว่าอยากทำงานเป็นวิศวกร จึงดั้นด้นเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย หลังจากจบการศึกษา แล้วได้ทำงานเป็นวิศวกร สมปรารถนา (บางคนก็ไม่สมปรารถนา) ชีิวิตการทำงานในหน้าที่วิศวกรนั้น ทำให้หลายคนเริ่มเหนื่อย ท้อ เพราะอะไร ?
สำหรับหลายท่านอาจมีหลายเหตุผลที่แตกต่างจากผม ซึ่งผมจะขอกล่าวเฉพาะในส่วนที่เป็นประสบการณ์ตรงของผมก็แล้วกัน
สิ่งที่ทำให้วิศวกรผู้เปี่ยมไปด้วยความรู้ เหนื่อย และ ท้อ(บางคน) มีดังนี้

อากาศร้อนกับโซล่าเซลล์

โซล่าเซลล์
โซล่าเซลล์ในประเทศไทย
หลายท่านอาจมีคำถามว่าประเทศไทยร้อนขนาดนี้ทำไมไม่สร้าง
โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ?
วันนี้อากาศดี (อุณหภูมิ 35.5 องศาเซลเซียส) เหมาะที่เล่าเรื่องที่เกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์เป็นอย่างยิ่ง
ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนครับว่ารูปแบบที่มนุษย์โลก(ชาวโลก)ใช้เปลี่ยนพลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นไฟฟ้ามีอยู่ด้วยกัน
2 รูปแบบได้แก่

ฤดู วิศวกรไฟฟ้าจบใหม่

ช่วงนี้เป็นช่วงที่นักศึกษาเริ่มสำเร็จการศึกษากัน หลายคนเริ่มสมัครงานกันแล้วโดยเฉพาะสายวิศวกรรม ปัจจุบันมีผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านวิศวกรรมปีละหลายหมื่นคน สิ่งหนึ่งที่นักศึกษาจบใหม่จะต้องทำใจเตรียมพร้อมไว้คือลักษณะงาน วัฒนธรรมองค์กร และผู้บังคับบัญชาที่แตกต่างกัน (บางครั้งก็เพี้ยนๆก็มีฮ้าๆ)

ประเทศไทยไฟดับเมษา 56

  ตั้งชื่อเรื่องซ่ะ.....ฮ้าๆ
ช่วงนี้ก็มีข่าวไม่ค่อยน่าประทับใจนักสำหรับการบริหารพลังงานไฟฟ้าของประเทศ แต่จะว่าไปก็โทษใครไม่ได้เพราะทุกคนล้วนมีส่วนในปัญหาความไม่มั่นคงของพลังงานไฟฟ้าในครั้งนี้ ถ้าจะให้ฟังดูดีคงต้องยืมคำของผู้บริหารบริษัทผลิตโทรศัพท์รุ่นเก๋าๆ "  ใคร...เผาบ้านเรา? " อ่านข้อความแล้วคงเข้าใจน่ะครับว่าคนที่มีส่วนในปัญหานี้ก็คือพวกเราทุกคนที่ใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจำวันนี่แหละครับ

งานของวิศวกรไฟฟ้า

 วิศวกรไฟฟ้ามีหน้าที่อะไร?
 เป็นคำถามที่ตอบแบบฟันธงได้ยาก
เอาเป็นว่าวิศวกรไฟฟ้า(รวมถึงวิศวกรทุกสาขา)เป็นผู้รับใช้นายทุน(อาจไม่น่าฟังเท่าไหร่สำหรับบางท่าน) วิศวกรมีหน้าที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ องค์กร ในด้านต่างๆตามสายงานของตนเอง
 ในส่วนวิศวกรไฟฟ้ามีหน้าที่สนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการ องค์กร

ผู้ติดตาม